ตำนานนางเลือดขาว มัสสุหรี ตำนาน เรื่องเล่า เกร็ดความรู้ เรื่องลี้ลับ Powered By Discuz!

ทรงแสดงต่อไปว่า ภิกษุพิจารณาเห็นอย่างนี้ว่า ถ้าอยู่สบาย อกุศลธรรมจะเจริญ กุศลธรรมจะเสื่อม ถ้าตนไว้ในทุกข์ อกุศลธรรมจะเสื่อม กุศลธรรมจะเจริญ ก็จะตั้งตนไว้ในทุกข์ เพื่อให้อกุศลธรรมเสื่อม และเพื่อให้กุศลธรรมเจริญ. แต่ในสมัยอื่นจะไม่ทำเช่นนั้น เพราะสำเร็จประโยนช์แล้วจึงไม่ต้องทำเช่นนั้นอีก เปรียบเหมือนช่างศรอย่างลูกศร ดัดลูกศรที่ง่ามไม้ ทำให้ตรงใช้การได้ ภายหลังก็ไม่ต้องย่าง หรือดัดซ้ำอีกอย่างนี้ก็เป็นอีกประการหนึ่งที่ความพยายามความเพียรชื่อว่ามีผล. ชีเปลือยชื่อกัสสปกราบทูลถึงข้อวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ของสมณพราหมณ์เหล่านั้น ที่จัดเป็นความเป็นสมณะ ความเป็นผู้ประเสริฐ ? ๖ เช่น การเปลือยกาย ยืนถ่ายอุจจาระปัสสาวะ และกินอาหารเลียมือที่เลอะ อาหาร ( แทนการล้าง) เป็นต้น. พระเจ้าพิมพิสาร พร้อมทั้งโอรสมเหสี บริษัทและอำมาตย์, พระเจ้าปเสนทิโกศล พร้อมทั้งโอรส ฯลฯ โบกขรสาติพราหมณ์ พร้อมทั้งบุตรภริยา ฯลฯ ก็ถึงพระสมณโคดมเป็นสรณะ เมื่อเสด็จมา จึงชื่อว่าเป็นแขกที่เราจะพึงถวายความเคารพสักการะเพราเหตุนี้ จึงไม่ควรที่จะให้พระองค์เสด็จมาหาเรา ควรที่เราจะไปเฝ้าพระองค์.

ทายาทพระนางมัสสุหรีแต่งงาน

สัพพัญญุตญาณ ( ญาณคือความเป็นผู้รู้สิ่งทั้งปวง ) ๖. อนาวรณญาณ ( ญาณอันไม่มีความข้องขัดไม่มีเครื่องกั้น ). ปัญญาในการเงี่ยโสต ( สดับ ) ชื่อว่าญาณอันสำเร็จด้วยการฟัง ๒. ครั้นฟังแล้ว ( เกิด ) ปัญญาในการสำรวม ชื่อว่าญาณอันสำเร็จด้วยศีล ๓. ครั้นสำรวมแล้ว ( เกิด ) ปัญญาในการตั้งจิตมั่น ชื่อว่าญาณอันสำเร็จด้วยการเจริญสมาธิ ๔. ปัญญาในการกำหนดรู้ปัจจัย ชื่อว่าญาณในความตั้งอยู่แห่งธรรม ( ธัมมัฏฐิติญาณ ) ๕.

ทายาทพระนางมัสสุหรีแต่งงาน

เมื่อเสด็จถึงจึงประทับพิงเสากลาง ภิกษุสงฆ์นั่งพิงฝาด้านตะวันตก เจ้าศากยะชาวกรุงกบิลพัสดุ์ทรงพิงฝาด้านตะวันออก. พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมจนดึก แล้วตรัสสั่งให้พระอานนท์แสดงเสขปฏิปทา ( ข้อปฏิบัติของพระเสขะ คือพระอริยะบุคคลผู้ยังศึกษา ) ส่วนพระองค์ทรงพักผ่อนสำเร็จสีหไสยา. ต่อไปได้ตรัสถึงสาราณิยธรรม ( ธรรมอันทำให้ระลึกถึงกัน ) ๖ ประการ คือ ๑. ตั้งกายกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ๒. ตั้งวจีกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ๓. ตั้งมโนกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ในเพื่อนพรหมจารีทั้งในที่แจ้งที่ลับ ๔.

มีราคะ เป็นต้น. ตรัสแสดงอริยโวหาร ( คำพูดที่ประเสริฐ ) และอนริยโวหาร ( คำพูดที่ไม่ ประเสริฐ ) ฝ่ายละ ๘ อย่าง ( พ้องกับที่ย่อไว้แล้วหน้าพระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ หน้า ๕ หมวดนอกจาก ๕๐ ) หัวข้อ ๕. ตรัสสอนภิกษุรูปหนึ่ง ผู้ขอให้ทรงแสดงธรรมโดยย่อ โดยตรัสสอนให้สำเนียก ว่า ๑. จิตจักตั้งมั่น อกุศลธรรมจักไม่ครอบงำ ๒.-๕. เราจักเจริญทำให้มากซึ่งเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา อันเป็นเจโตวิมุติ ( อันเป็น ฌาน ).๔ ๖.-๙. เราจักเจริญทำให้มากซึ่งสติปัฏฐาน ๔ เมื่อได้ทำได้อย่างนี้ ก็จะอยู่เป็นผาสุกทั้ง อิริยาบถเดิน, ยืน, นั่ง, นิน.

นั่งแสดงตนในทาง ( ที่คนผ่านไปมา ) ๑๒. พูดไม่ตรงความจริง ชอบว่าไม่ชอบ ไม่ชอบว่าชอบ ๑๓. เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรม ไม่ยอมรับปริยายที่ควรยอมรับ ๑๐ ๑๔ เป็นผู้มักโกรธ และผูกโกรธ ๑๕. เป็นคนมักลบหลู่บุญคุณท่านและตีเสมอ ๑๖.

สัตว์ ( น่าจะหมายถึงคนที่ถูกใจ ). ตรัสแสดงโทษ ๑๐ ประการในการเข้าสู่ภายในพระราชวัง คืออาจทำให้เป็นที่ สงสัยเมื่อยิ้มกับพระมเหสี, ถูกสงสัยเกี่ยวกับของหาย, เกี่ยวกับความลับรั่วไหล เป็นต้น. (ในหมวดนี้มี ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตร. วรรคแรกชื่ออานิสังสวรรค ว่าด้วยผลดี, วรรคที่ ๒ ชื่ออนาถกรณวรรค ว่าด้วยธรรมะอันทำที่พึ่ง, วรรคที่ ๓ ชื่อมหาวรรค ว่าด้วยเรื่องใหญ่, วรรคที่ ๔ ชื่ออุปาลิวรรค ว่าด้วย พระอุบาลี, วรรคที่ ๕ ชื่ออักโกสวรรค ว่าด้วยการด่า ). ตรัสแสดงอุโบสถประกอบด้วยองค์ ๙ ว่า มีผลมาก มีอานิสงส์มาก คือ พิจารณาองค์ ๘ ว่า ได้ทำตามอย่างพระอรหันต์ กับข้อ ๙ พิจารณาว่า ตนได้แผ่เมตตาจิตไปยังทิศต่าง ๆ.

อัตราปรินิพพายี ( มีอายุไม่ถึงกึ่งดับกิเลสได้ ). แล้วตรัสแสดงถึงท่านผู้ทำให้แจ้งเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ ( พระอรหันต์ ) ว่าเป็นผู้ทำให้บริบูรณ์ในศีล , สมาธิ, และปัญญา. ตรัสอธิบาย การมีศีล สำรวมในพระปาฏิโมกข์ ว่าเป็นอธิศีลสิกขา, การเจริญฌาน ๔ ว่าเป็นอธิจิตตสิกขา , การรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริงว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา. อีกนัยหนึ่งทรงแสดง การทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ ว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา. พระอานนท์แสดงธรรมแก่เจ้าลิจฉวี ๒ องค์ คือ อภัยกับปัณฑิตกุมารกะ ผู้เล่าถึงเรื่องนิครนถนาฏบุตร ผู้ปฏิญญาถึงญาณทัสสนะของตนเองว่ารู้รอบไม่มีส่วนเหลือไม่ว่าจะเดิน, ยืน, หลับ, ตื่น ญาณทัสสนะจะปรากฏติดต่อสมบูรณ์ตลอดเวลา.

ตรัสแสดงความบริสุทธิ์แห่งทักษิณา ๔ อย่าง คือทักษิณาที่ ๑. บิริสุทธิ์ฝ่ายทายก ( ผู้ให้ ) ไม่บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ( ผู้รับ ) ๒. บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธิ์ฝ่ายทายก ๓.

จิตไม่หลุดพ้น. ทรงข้ามความสงสัย ปราศจากความเคลือบแคลง มีความดำริอันสมบูรณ์ ( ไม่ติดอยู่เพียงขั้นใดขั้นหนึ่ง ). บุคคลทำไว้ในใจว่า ไม่มีอะไร เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ. เพราะตัญหา ( ความทะยานอยาก) เป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน. เมื่อพระโพธิสัตว์ประสูติได้ ๗ วันแล้ว พระมารดาย่อมสวรรคต เข้าสู่สวรรค์ชั้นดุสิต.

เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ ศีล ” การลูบคลำศีลแลพรตจักมีได้อย่างไร. แต่ว่าอนุสัยคือการลูบคลำศีลพรตของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป. เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ กาม ” ความพอใจในกามจักเกิดได้อย่างไร. แต่ว่าอนุสัยคือความพอใจในกามของเด็กย่อมแฝงตัวตามไป. เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ สัตว์ทั้งหลาย ” ความพยาบาทในสัตว์ทั้งหลายจักเกิดได้อย่างไร แต่ว่าอนุสัยคือความพยาบาทของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป.

ปัญญาวิสุทธิ ความหมดจดแห่งปัญญา ๙. วิมุตติวิสุทธิ ความหมดจดแห่งความหลดพ้น ฯลฯ. หมวด ๖. ธรรม ๖ อย่าง มีอุปการะมาก คือสาราณิยธรรม ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการทำกันแลกันให้ระลึกถึง อันได้แก่ ๑. ตั้งมโนกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ๔.

เมื่อประสูติ จะมีธารน้ำร้อนน้ำเย็นตกลงมาสนานพระกายพระโพธิสัตว์และพระมารดา. สตรีอื่นบริหารครรภ์ ๙ เดือนบ้าง ๑๐ เดือนบ้างจึงคลอด ส่วนมารดาพระโพธิสัตว์บริหารพระครรภ์ ๑๐ เดือนพอดีจึงคลอด. พระมารดาพระโพธิสัตว์ไม่มีโรค มองเห็นพระโพธิสัตว์ในพระครรภ์เหมือนเห็นเส้นด้ายในแก้วไพฑูรย์ ( ตั้งแต่ข้อ ๓ ถึง ๗ หมายถึงระหว่างทรงพระครรภ์). พระผู้มีพระภาคตรัสถามให้วาเสฏฐมาณพ ยืนยันถึง ๓ ครั้งว่า ทางต่าง ๆ เหล่านั้น นำไปสู่ความเป็นผู้ร่วมกับพระพรหมได้. เมื่อแสดงธรรมจบ สุภมาณพ โตเทยยบุตร สรรเสริญธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต.

เป็นผู้เลิศในทางถวายทาน. หัตถกะ อาฬวกะ ( ชาวอาฬวี) เป็นผู้เลิศในทางสงเคราะห์บริษัทด้วยสังคหวัตถุ ๔ ๓ . นางภัททากาปิลานี เป็นผู้เลิศในทางระลึกชาติได้. พระนางนันทา ( น้องพระอนุรุทธ์) เป็นในทางเข้าฌาน. สุปัณณสังยุตต์ ประมวลเรื่องครุฑ คือสัตว์ประเภทนก. ทิฏฐิสังยุตต์ ประมวลเรื่องทิฏฐิ คือความคิดเห็นที่เนื่องด้วยขันธ์ ๕.

ความเศร้าโศรก เป็นต้น ย่อมเกิดเพราะความปรวนแปรเป็นอื่นแห่งสิ่งที่รัก ๓. ความเป็นของปฏิกูล ( น่าเกลียด ) ใน นิมิต ( เครื่องหมาย ) ที่ไม่งาม ย่อมตั้งอยู่แก่ผู้ประกอบเนือง ๆ ซึ่งนิมิตว่าไม่งาม ๔. ความเป็นของปฏิกูลในผัสสะ ( ความถูกต้องอารมณ์ มีรูป เสียงเป็นต้น ) ย่อมตั้งอยู่แก่ผู้พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในอายตนะสำหรับถูกต้อง ๖ อย่าง ( มีตา หู เป็นต้น ) ๕. ความเป็นของปฏิกูล ในความยึดถือ ย่อมตั้งอยู่แก่บุคคลผู้พิจารณาเห็นความเกิดขึ้นความดับไปในขันธ์ ๕ ที่ยึดถือ นี้เป็นผลแต่ละข้อของ ๕ ข้อนั้น.) ที่ตรัสไว้แล้ว แต่มีรายละเอียดต่างไปเล็กน้อย. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ .

พบเข้าก็ให้ทาน ๒. ให้ทานเพราะกลัว ๓. ให้ทานเพราะคิดว่าเขาเคยให้แก่เรา ๔. ให้ทานเพราะคิดว่าเขาจักให้แก่เรา ๕. ให้ทานเพราะคิด ว่าทานเป็นของดี ๖. ให้ทานเพราะคิดว่าเราหุงต้ม แต่สมณะเหล่านี้มิได้หุงต้ม ๗.

วัสสการพราหมณ์ยอมรับว่า พระโคดมทรงฒิฌานที่ควรติ ทรงสรรเสริญฌานที่ควรสรรเสริญแล้วลาไป. โคปกโมคคัลลานพราหมณ์พูดกับพระอานนท์ว่า ยังไม่ตอบคำของตน ( ในข้อ ๑ ) พระอานนท์ว่าตอบแล้ว คือไม่มีภิกษุที่มีคุณธรรมเท่าพระพุทธเจ้า . พระองค์เป็นผู้ชี้ทาง พระสาวกเป็นผู้ดำเนินตามทาง.

แล้วทรงแสดงสมณะ ๔ ประเภท ตามชื่อเดิมอีก ต่าง แต่คำอธิบายตามลำดับข้อ คือพระโสดาบัน, พระสกทาคามี, พระอนาคามี, พระอรหันต์. ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือพร่องมาพร่องไป, พร่องมาเต็มไป, เต็มมาพร่องไป, เต็มมาเต็มไป โดยอธิบายเช่นเดียวกับพวกมืดและสว่างข้างต้น. ทรงแสดงการตอบปัญหา ๔ อย่าง คือปัญหาที่ควร ตอบโดย ๑. แง่เดียว ๒.

พราหมณ์ไม่ยึดถือสิ่งใด ๆ . ผู้ได้เจโตสมถะ ( ความสงบแห่งจิต ) ภายใน แต่ไม่ได้อธิปัญญา ธัมมวิปัสสนา ( ความเห็นแจ้งธรรมะ อันเป็นอธิปัญญา ). ผู้ได้อธิปัญญา ธัมมวิปัสสนา แต่ไม่ได้เจโตสมถะในภายใน ๓. ผู้ไม่ได้ทั้งสองอย่าง ๔. ผู้ได้ทั้งสองอย่าง.

ในภิกษุณีสงฆ์ ๕. ทักษิณาที่เจาะจงภิกษุ หรือภิกษุณีจำนวนเท่านั้นเท่านี้จากสงฆ์ ๖. ทักษิณาที่เจาะจงภิกษุเท่านั้นเท่านี้จากสงฆ์ ๗. ทักษิณาที่เจาะจงภิกษุณีเท่านั้นเท่านี้จากสงฆ์. ในข้อฉลาดในฐานะและอฐานะ ทรงแสดงความเป็นผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ เช่น ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิเป็นไปไม่ได้ ที่จะเห็นสังขารว่าเป็นเที่ยง เป็นสุข เป็นตัวตน และสิ่งที่เป็นไปได้ เช่น บุถุชนเป็นไปได้ที่จะเห็นสังขารว่าเป็นเที่ยง เป็นสุข เป็นตัวตน. ตรัสถามว่า ถ้าลดลงเสียอีก ๑ เหลือ ๒ จะลดอะไร โสณทัณฑพราหมณ์ลดข้อที่เกี่ยวกับชาติ คือกำเนิดจากมารดาบิดาเป็ณพราหมณ์.

ย่อมไปโดยทางตรง ๘. มีเรี่ยวแรง ม้าอาชาไนยประกอบด้วยองค์ ๘ เหล่านี้ ย่อมควรแก่พระราชา ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๘ ประการ ก็ควรของคำนับ เป็นเนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก คือ ๑. มีศีล ๒. บริโภคด้วย ความเคารพ ( ด้วยอาการอันดีงาม ) ซึ่งอาหารที่เขาถวายเศร้าหมองหรือประณีตก็ตาม ไม่เดือดร้อน ๓. รังเกียจทุจจริตทางกาย วาจา ใจ รังเกียจการประกอบด้วยอกุศลบาปธรรม ๔.

เราได้พยาบาลสหายนั้นจนหายแล้ว จึงลามาสู่อาศรมของเรา. สหาย ( อีกคนหนึ่ง ) ซึ่งเป็นพราหมณ์ ได้พาภริยาและบุตร รวมกัน ๓ คน มาเยี่ยมเรา. เด็กน้อยโยนลูกกลม( วัฏฏะ แต่ในอรรถกถาชาดกว่า เคณฑุกะ คือลูกคลีหนัง ) ทำให้งูโกรธ ( เพราะลูกคลีหนังนั้นตกลงไปในโพรงที่งูอยู่ ). เด็กตามไปเอามือล่วงในโพรง งูจึงกัดล้มลงบนพื้นดิน เราจึงได้ทำสัจจกิริยาว่า เราประพฤติพรหมจรรย์ด้วยความเลื่อมใสเพียง ๗วันเท่านั้น ต่อจากนั้นอีก ๕๐ ปีเศษ มิได้มีความพอใจ ( หรือเต็มใจ ) ประพฤติเลย ด้วยความสัตย์นี้ ขอให้พิษจงหมดไป ขอกุมารผู้มีนามว่ายัญญทัตจงฟื้นขึ้น. พร้อมกับที่ได้ทำสัจจะ เด็กน้อยก็หาย ฟื้นลุกขึ้นได้.

ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายถึงโทษ ๒ อย่าง คือโทษในปัจจุบันและโทษในภพหน้า . โทษในปัจจุบัน เช่น การจับโจรได้แล้วลงโทษ โดยด้วยแส้ โบยด้วยหวาย ตัดมือ ตัดเท้า ตัดศีรษะ เป็นต้น ๑ . ส่วนในโทษภพหน้า ได้แก่ผลของทุจจริตทางกาย วาจา ใจ ซึ่งจะทำให้เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรกเมื่อตายไปแล้ว. ตรัสสอนให้กลัวโทษ เห็นภัยในโทษก็จะพ้นจากโทษทั้งปวงได้. แล้วทรงแสดงทักษิณา ( ของให้หรือของถวาย ) ที่เจาะจงบุคคล ๑๔ ประเภทเป็นข้อ ๆ ไป คือ การที่บุคคลถวายทานหรือให้ทาน ๑.

จิตหดหู่ ๘. จิตฟุ้งซ่าน ๙. จิตใหญ่ ( จิตในฌาน ) ๑๐. จิตไม่ใหญ่ ( จิตที่ไม่ถึงฌาน ) ๑๑.

เล่ม ๑๓ คือเล่มนี้ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ หมวดขนาดกลาง หมวด ๕๐ ที่เป็นตอนกลาง ส่วนเล่ม ๑๔ คือ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ หมวดขนาดกลาง หมวด ๕๐ ที่เป็นตอนปลาย. ญาณที่๓ อริยสาวกพิจารณาว่า มีสมณพราหมณ์อื่นในภายนอกศาสนานี้ที่ประกอบด้วยทิฏฐิอย่างที่เรามีหรือไม่ หนอ . อเวทนา , สัญญา , อวิญญาณ ปนกันหรือแยกกัน ตอบว่า เป็นธรรมปนกัน ยากที่จะแยกบัญญัติทำให้ต่างกันได้ เพราะเสวยรู้สึกสิ่งใดก็จำสิ่งนั้นได้ จำสิ่งใดได้ก็รู้แจ้งสิ่งนั้น จึงแยกบัญญัติทำให้ต่างกันไม่ได้.

สันโดษ ด้วยเสนาสนะตามมีตามได้ ไม่ทำการแสวงหาอันไม่สมควร เพราะสิ่งทั้งสามนั้นไม่ได้ก็ไม่เดือดร้อน ได้ก็ไม่ติด ไม่ยกตนข่มผู้อื่น เพราะความสันโดษทั้งสามข้อนั้น ๔. ยินดีในการเจริญกุศลธรรม ในการละอกุศลธรรม.เธอก็ จะครอบงำความไม่ยินดีเสียได้. ทรงแสดงว่า บรรดาวาทะของสมณะเป็นอันมาก วาทะของมักขลิเลวที่สุด คือมีวาทะและความเห็นว่า กรรม ( การกระทำ ) ไม่มี กริยา (อาการที่ทำ ) ไม่มี วิริยะ ( ความเพียร ) ไม่มี เป็นการคัดค้านพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งอดีตอนาคต และปัจจุบัน ผู้กล่าวว่า กรรม, กิริยา , ความเพียรมี. ทรงแสดงว่าภิกษุผู้บำเพ็ญสมาธิ พึงใส่ใจนิมิต ( เครื่องหมายในจิตใจ ) ๓ อย่าง โดยกาลอันสมควร ได้แก่สมาธินิมิต (เครื่องหมายคือสมาธิหรือความมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ) ปัคคาหนิมิต ( เครื่องหมายคือความเพียร ) อุเบกขานิมิต ( เครื่องหมายคือความวางเฉย ).

พระอานนท์แสดงธรรมแก่ราชบุตรแห่งโกลิยกษัตริย์ ชาว สาปุคนิคมหลายองค์ ถึงองค์แห่งความเพียร เพื่อความบริสุทธิ์ ๔ อย่าง คือองค์แห่งความเพียรเพื่อความบริสุทธิ์แห่งศีล. แห่งจิต, แห่งทิฏฐิ ( ความเห็น ) และแห่งวิมุติ ( ความหลุดพ้น ) โดยชี้ไปที่การสำรวมในพระปาฏิโมกข์, การเข้าฌาน ๔, การรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง, การทำจิตให้คลายกำหนัดในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด การเปลื้องจิตในธรรมที่ควร เปลื้องโดยลำดับครบ ๔ ข้อ. พระอานนท์แสดงธรรมแก่นางภิกษุณีรูปหนึ่ง ผู้ใช้ คนไปนิมนต์ อ้างว่าตนเป็นไข้ โดยชี้แจงว่ากายเกิดขึ้นเพราะอาหาร, ตัณหา, มานะ ( ความถือตัว ) และเมถุนบุคคล พึงอาศัยอาหาร ละอาหาร, อาศัยตัณหา ละตัณหา, อาศัยมานะ ละมานะได้ แต่เมถุนบุคคลพึงละ พระผู้มีพระภาค ตรัสว่า พึงชักสะพานเสีย ( ละโดยเด็ดขาด ) นางภิกษุณีได้สดับ ก็ลุกขึ้นจากเตียงกล่าวขอขมา. ก็แต่ว่าพระองค์ทรงบัญญัติโลก, เหตุเกิดแห่งโลก, ความดับ โลก, ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับโลก ในร่างกายนี้แหละ อันมีประมาณวาหนึ่ง มีสัญญา ( ความจำได้ หมายรู้ ) มีใจครอง ?

แล้วตรัสถามว่า ออกบวชเพื่อทำที่สุดทุกข์ใช่หรือไม่ . พระอนุรุทธ์ก็กราบทูลรับว่า ใช่. จึงตรัสถึงหน้าที่ที่ผู้บวชแล้วพึงกระทำว่า ถ้ามิได้บรรลุปีติและสุขอันสงัดจากกาม อันสงัดจากอกุศลธรรม หรือปีติสุขที่สงบระงับกว่านั้นแล้ว ความโลภ ( อภิชฌา ) , ความคิดปองร้าย, ความหดหู่ง่วงงุน, คววามลังเลสงสัย, ความฟุ้งสร้านรำคาญใจ, ความไม่ยินดี ( ในกุศลธรรม ), ความเกียจคร้านก็จะครอบงำจิตตั้งอยู่ได้. ต่อไปบรรลุปีติและสุขเช่นนั้นหรืออย่างอื่นที่สงบระงับกว่านั้น กิเลสดังกล่าวจึงไม่ครอบงำจิตตั้งอยู่ได้. ท้าวสักกะก็ชื่นชมภาษิต และกราบทูลลากลับ.

อุทาน ว่าด้วยพระพุทธภิษที่ทรงเปล่งออกมาปรารภเหตุการณ์นั้น ๆ. ( ในหมวดนี้ไม่มีหมวด ๕๐ เริ่มต้นก็ขึ้นวรรคที่ ๑ ชื่อนิสสายวรรค ว่าด้วยสิ่งที่อาศัยกัน วรรคที่ ๒ ไม่มีชื่อ ต่อจากนั้นก็กล่าวถึงพระสูตรที่ไม่จัดเข้าในหมวด ๕๐ ). ตรัสถึงธรรมที่ควรสูบออก ๑๐ ประการ มีความเห็นผิด เป็นต้น. ตรัสแสดงการใช้ยาให้อาเจียน ของหมอทำนองเดียวกับเรื่องถ่ายยา. พระอานนท์โต้ตอบกับโกกนุทปริพพาชก ถึงเรื่องทิฏฐิ ๑๐ ประการในทำนอง คล้ายคลึงกัน. ตรัสกะพระอานนท์ ว่า ไม่มีญาณอย่างอื่นยิ่งไปกว่ายถาภูตญาณ ( คือญาณรู้เห็น ตามความเป็นจริงในเรื่องนั้น ๆ ).

เมื่อพระศาสดาเสด็จหลีกไปแล้ว พระสารีบุตรได้ตั้งปัญหาถามภิกษุเหล่านั้นว่า ด้วยเหตุเพียงไร สาวกจะเชื่อว่าไม่ศึกษาหรือศึกษาวิเวก ( ความสงัด ) ในเมื่อพระศาสดาเป็นผู้สงัดแล้ว ภิกษุทั้งหลายขอให้พระสารีบุตรตอบเอง. อนึ่ง พึงทราบไว้ด้วยว่า เพื่อสะดวกแก่การท่องจำหรือกำหนดหมาย ในปัณณาสก์หนึ่ง ๆ หรือเล่มเล่มหนึ่ง ๆ ซึ่งมี ๕๐ สูตรนั้น ท่านแบ่งออกเป็น ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ( คงมีวรรคละ ๑๒ สูตร อยู่วรรคเดียวในเล่ม ๑๔ หรือเล่มสุดท้ายแห่งมัชฌิมนิกาย ). หมวด ๔.

ไม่คิดประทุษร้าย ๓ ไม่หลง ฯลฯ. ขอท่านพุทธศาสนิกชนโดยถ้วนหน้าจงบูชาความดีของท่านด้วยการปฏิบัติตาม ทุกท่านจะไม่พลาดจากผลของความดี คือความสุขตลอดกาล.. ตรัสว่า ไม่ทรงกล่าวว่าควรบำเรอทุกอย่าง แต่ก็ไม่ทรงกล่าวว่าไม่ควรบำเรอทุกอย่าง เมื่อบำเรอแล้วเกิดความชั่วไม่เกิดความดีงามก็ไม่ควรบำเรอ เมื่อบำเรอแล้วความดีงามไม่เกิดวามชั่วก็ควรบำเรอ. (๔) ธรรมอันเป็นกุศล ๑๐ อย่าง คือที่ตรงกันข้ามกับอกุศล ๑๐ อย่าง. (๒) ธรรมอันเป็นกุศล ๓ อย่าง คือความไม่โลภ, ความไม่คิดประทุษร้าย, ความไม่หลง. (๑) ธรรมอันเป็นอกุศล ๓ คือความโลภ, ความคิดประทุษร้าย, ความหลง.

สุขจากการไม่เป็นหนี้, ๔. สุขจากการงานที่ไม่มีโทษ. ทรงแสดงความวิปลาส ( ความผิดพลาด, ความ คลาดเคลื่อน ๔ อย่าง คือ สัญญาวิปลาส, จิตตวิปลาส, ทิฏฐิวิปลาส ( ความวิปลาสแห่งความกำหนดหมาย, แห่งจิต, แห่งความเห็น) ๑.ในสิ่งไม่เที่ยงว่าเที่ยง, ๒. ในทุกข์ว่าสุข, ๓.

แล้วอุบาลีคฤหบดีได้เปรียบเทียบให้ฟังว่า คำสอนของนิครนถ์ อดทนต่อความยินดีของคนโง่ ไม่อดทนต่อความดีของบัณฑิต ไม่อดทนต่อการซักไซ้ขัดสี เปรียบเหมือนลูกลิงทนการย้อมสีได้ แต่จะเอามาทุบตี เอามาขัดสีเหมือนผ้าใหม่ที่จะย้อมสี ย่อมทนไม่ได้. นิครนถนาฏบุตรถึงแก่อาเจียนเป็นโลหิตในที่นั้น. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูก่อนมารผู้มีบาป ! พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เขาคิชฌกูฏ ใกล้กรุงราชคฤห์ ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงการที่ผู้ออกบวชได้ผลดีบางอย่าง หรือทำความดีบางอย่างให้เกิดแล้วมัวเมาประมาท ยกตนข่มผู้อื่น เพราะเหตุแห่งผลดีหรือความดีนั้น ๆ เทียบด้วยผู้ถือเอาสิ่งที่มิใช่แก่นไม้ว่าเป็นแก่นไม้ ในที่สุดได้ทรงแสดงความหลุดพ้นแห่งใจที่ไม่กำเริบว่าเป็นเหมือนแก่นไม้ . ต่อไปนี้เป็นข้อเปรียบเทียบที่ทรงแสดง. มีสาวกของพระสาวกของพระผู้มีพระภาคเสพเสนาสนะอันสงัดในป่า ซึ่งพวกยักษ์ชั้นผู้ใหญ่ที่ไม่เลื่อมใสในพระธรรมวินัยของพระผู้มีพระภาค อาศัยอยู่ เพื่อคุ้มครองรักษารักษาเพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่เป็นสุขแห่งภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงเรียนการรักษา ชื่ออาฏานาฏิยา เพื่อทำยักษ์เหล่านั้นให้เลื่อมใส .

ฐานะที่ไม่น่าพอใจ ทำเข้า ก็เป็นไปเพื่อไม่เป็นประโยชน์ ๒. ฐานะที่ไม่น่าพอใจ แต่ทำเข้าเป็นไปเพื่อประโยชน์ ๓. ฐานะที่น่าพอใจ แต่ทำ เข้าเป็นไปเพื่อไม่เป็นประโยชน์ ๔. ฐานะที่น่าพอใจ ทั้งทำเข้าก็เป็นไปเพื่อประโยชน์. ทรงแสดงงูพิษ ๔ อย่าง คือพิษแล่น แต่ไม่ร้าย, พิษ ร้าย แต่ไม่แล่น, พิษทั้งแล่นทั้งร้าย, พิษทั้งไม่แล่นไม่ร้าย ( พิษแล่นหรือไม่แล่น เทียบด้วยขี้โกรธหรือไม่ ; พิษ ร้ายหรือไม่ร้าย เทียบด้วยมีความโกรธคงอยู่นานหรือไม่ ). ทรงแสดงว่า ท้าวสักกะสอนเทพชั้นดาวดึงส์ สรรเสริญการรักษาอุโบสถมีองค์ ๘ ในวันอุโบสถ .