รองเท้าพระ รองเท้าแตะพระ แบบสวม รุ่นคลาสสิค สีพระราชทาน เบอร์ forty five ความยาว 27.5 ซม. รองเท้าพระ รองเท้าแตะพระ แบบสวม รุ่นคลาสสิค…
ตำนานนางเลือดขาว มัสสุหรี ตำนาน เรื่องเล่า เกร็ดความรู้ เรื่องลี้ลับ Powered By Discuz!
ทรงแสดงต่อไปว่า ภิกษุพิจารณาเห็นอย่างนี้ว่า ถ้าอยู่สบาย อกุศลธรรมจะเจริญ กุศลธรรมจะเสื่อม ถ้าตนไว้ในทุกข์ อกุศลธรรมจะเสื่อม กุศลธรรมจะเจริญ ก็จะตั้งตนไว้ในทุกข์ เพื่อให้อกุศลธรรมเสื่อม และเพื่อให้กุศลธรรมเจริญ. แต่ในสมัยอื่นจะไม่ทำเช่นนั้น เพราะสำเร็จประโยนช์แล้วจึงไม่ต้องทำเช่นนั้นอีก เปรียบเหมือนช่างศรอย่างลูกศร ดัดลูกศรที่ง่ามไม้ ทำให้ตรงใช้การได้ ภายหลังก็ไม่ต้องย่าง หรือดัดซ้ำอีกอย่างนี้ก็เป็นอีกประการหนึ่งที่ความพยายามความเพียรชื่อว่ามีผล. ชีเปลือยชื่อกัสสปกราบทูลถึงข้อวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ของสมณพราหมณ์เหล่านั้น ที่จัดเป็นความเป็นสมณะ ความเป็นผู้ประเสริฐ ? ๖ เช่น การเปลือยกาย ยืนถ่ายอุจจาระปัสสาวะ และกินอาหารเลียมือที่เลอะ อาหาร ( แทนการล้าง) เป็นต้น. พระเจ้าพิมพิสาร พร้อมทั้งโอรสมเหสี บริษัทและอำมาตย์, พระเจ้าปเสนทิโกศล พร้อมทั้งโอรส ฯลฯ โบกขรสาติพราหมณ์ พร้อมทั้งบุตรภริยา ฯลฯ ก็ถึงพระสมณโคดมเป็นสรณะ เมื่อเสด็จมา จึงชื่อว่าเป็นแขกที่เราจะพึงถวายความเคารพสักการะเพราเหตุนี้ จึงไม่ควรที่จะให้พระองค์เสด็จมาหาเรา ควรที่เราจะไปเฝ้าพระองค์.
สัพพัญญุตญาณ ( ญาณคือความเป็นผู้รู้สิ่งทั้งปวง ) ๖. อนาวรณญาณ ( ญาณอันไม่มีความข้องขัดไม่มีเครื่องกั้น ). ปัญญาในการเงี่ยโสต ( สดับ ) ชื่อว่าญาณอันสำเร็จด้วยการฟัง ๒. ครั้นฟังแล้ว ( เกิด ) ปัญญาในการสำรวม ชื่อว่าญาณอันสำเร็จด้วยศีล ๓. ครั้นสำรวมแล้ว ( เกิด ) ปัญญาในการตั้งจิตมั่น ชื่อว่าญาณอันสำเร็จด้วยการเจริญสมาธิ ๔. ปัญญาในการกำหนดรู้ปัจจัย ชื่อว่าญาณในความตั้งอยู่แห่งธรรม ( ธัมมัฏฐิติญาณ ) ๕.
เมื่อเสด็จถึงจึงประทับพิงเสากลาง ภิกษุสงฆ์นั่งพิงฝาด้านตะวันตก เจ้าศากยะชาวกรุงกบิลพัสดุ์ทรงพิงฝาด้านตะวันออก. พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมจนดึก แล้วตรัสสั่งให้พระอานนท์แสดงเสขปฏิปทา ( ข้อปฏิบัติของพระเสขะ คือพระอริยะบุคคลผู้ยังศึกษา ) ส่วนพระองค์ทรงพักผ่อนสำเร็จสีหไสยา. ต่อไปได้ตรัสถึงสาราณิยธรรม ( ธรรมอันทำให้ระลึกถึงกัน ) ๖ ประการ คือ ๑. ตั้งกายกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ๒. ตั้งวจีกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ๓. ตั้งมโนกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ในเพื่อนพรหมจารีทั้งในที่แจ้งที่ลับ ๔.
มีราคะ เป็นต้น. ตรัสแสดงอริยโวหาร ( คำพูดที่ประเสริฐ ) และอนริยโวหาร ( คำพูดที่ไม่ ประเสริฐ ) ฝ่ายละ ๘ อย่าง ( พ้องกับที่ย่อไว้แล้วหน้าพระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ หน้า ๕ หมวดนอกจาก ๕๐ ) หัวข้อ ๕. ตรัสสอนภิกษุรูปหนึ่ง ผู้ขอให้ทรงแสดงธรรมโดยย่อ โดยตรัสสอนให้สำเนียก ว่า ๑. จิตจักตั้งมั่น อกุศลธรรมจักไม่ครอบงำ ๒.-๕. เราจักเจริญทำให้มากซึ่งเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา อันเป็นเจโตวิมุติ ( อันเป็น ฌาน ).๔ ๖.-๙. เราจักเจริญทำให้มากซึ่งสติปัฏฐาน ๔ เมื่อได้ทำได้อย่างนี้ ก็จะอยู่เป็นผาสุกทั้ง อิริยาบถเดิน, ยืน, นั่ง, นิน.
นั่งแสดงตนในทาง ( ที่คนผ่านไปมา ) ๑๒. พูดไม่ตรงความจริง ชอบว่าไม่ชอบ ไม่ชอบว่าชอบ ๑๓. เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรม ไม่ยอมรับปริยายที่ควรยอมรับ ๑๐ ๑๔ เป็นผู้มักโกรธ และผูกโกรธ ๑๕. เป็นคนมักลบหลู่บุญคุณท่านและตีเสมอ ๑๖.
สัตว์ ( น่าจะหมายถึงคนที่ถูกใจ ). ตรัสแสดงโทษ ๑๐ ประการในการเข้าสู่ภายในพระราชวัง คืออาจทำให้เป็นที่ สงสัยเมื่อยิ้มกับพระมเหสี, ถูกสงสัยเกี่ยวกับของหาย, เกี่ยวกับความลับรั่วไหล เป็นต้น. (ในหมวดนี้มี ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตร. วรรคแรกชื่ออานิสังสวรรค ว่าด้วยผลดี, วรรคที่ ๒ ชื่ออนาถกรณวรรค ว่าด้วยธรรมะอันทำที่พึ่ง, วรรคที่ ๓ ชื่อมหาวรรค ว่าด้วยเรื่องใหญ่, วรรคที่ ๔ ชื่ออุปาลิวรรค ว่าด้วย พระอุบาลี, วรรคที่ ๕ ชื่ออักโกสวรรค ว่าด้วยการด่า ). ตรัสแสดงอุโบสถประกอบด้วยองค์ ๙ ว่า มีผลมาก มีอานิสงส์มาก คือ พิจารณาองค์ ๘ ว่า ได้ทำตามอย่างพระอรหันต์ กับข้อ ๙ พิจารณาว่า ตนได้แผ่เมตตาจิตไปยังทิศต่าง ๆ.
อัตราปรินิพพายี ( มีอายุไม่ถึงกึ่งดับกิเลสได้ ). แล้วตรัสแสดงถึงท่านผู้ทำให้แจ้งเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ ( พระอรหันต์ ) ว่าเป็นผู้ทำให้บริบูรณ์ในศีล , สมาธิ, และปัญญา. ตรัสอธิบาย การมีศีล สำรวมในพระปาฏิโมกข์ ว่าเป็นอธิศีลสิกขา, การเจริญฌาน ๔ ว่าเป็นอธิจิตตสิกขา , การรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริงว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา. อีกนัยหนึ่งทรงแสดง การทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ ว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา. พระอานนท์แสดงธรรมแก่เจ้าลิจฉวี ๒ องค์ คือ อภัยกับปัณฑิตกุมารกะ ผู้เล่าถึงเรื่องนิครนถนาฏบุตร ผู้ปฏิญญาถึงญาณทัสสนะของตนเองว่ารู้รอบไม่มีส่วนเหลือไม่ว่าจะเดิน, ยืน, หลับ, ตื่น ญาณทัสสนะจะปรากฏติดต่อสมบูรณ์ตลอดเวลา.
ตรัสแสดงความบริสุทธิ์แห่งทักษิณา ๔ อย่าง คือทักษิณาที่ ๑. บิริสุทธิ์ฝ่ายทายก ( ผู้ให้ ) ไม่บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ( ผู้รับ ) ๒. บริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธิ์ฝ่ายทายก ๓.
จิตไม่หลุดพ้น. ทรงข้ามความสงสัย ปราศจากความเคลือบแคลง มีความดำริอันสมบูรณ์ ( ไม่ติดอยู่เพียงขั้นใดขั้นหนึ่ง ). บุคคลทำไว้ในใจว่า ไม่มีอะไร เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ. เพราะตัญหา ( ความทะยานอยาก) เป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน. เมื่อพระโพธิสัตว์ประสูติได้ ๗ วันแล้ว พระมารดาย่อมสวรรคต เข้าสู่สวรรค์ชั้นดุสิต.
เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ ศีล ” การลูบคลำศีลแลพรตจักมีได้อย่างไร. แต่ว่าอนุสัยคือการลูบคลำศีลพรตของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป. เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ กาม ” ความพอใจในกามจักเกิดได้อย่างไร. แต่ว่าอนุสัยคือความพอใจในกามของเด็กย่อมแฝงตัวตามไป. เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ สัตว์ทั้งหลาย ” ความพยาบาทในสัตว์ทั้งหลายจักเกิดได้อย่างไร แต่ว่าอนุสัยคือความพยาบาทของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป.
ปัญญาวิสุทธิ ความหมดจดแห่งปัญญา ๙. วิมุตติวิสุทธิ ความหมดจดแห่งความหลดพ้น ฯลฯ. หมวด ๖. ธรรม ๖ อย่าง มีอุปการะมาก คือสาราณิยธรรม ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการทำกันแลกันให้ระลึกถึง อันได้แก่ ๑. ตั้งมโนกรรมอันประกอบด้วยเมตตา ๔.
เมื่อประสูติ จะมีธารน้ำร้อนน้ำเย็นตกลงมาสนานพระกายพระโพธิสัตว์และพระมารดา. สตรีอื่นบริหารครรภ์ ๙ เดือนบ้าง ๑๐ เดือนบ้างจึงคลอด ส่วนมารดาพระโพธิสัตว์บริหารพระครรภ์ ๑๐ เดือนพอดีจึงคลอด. พระมารดาพระโพธิสัตว์ไม่มีโรค มองเห็นพระโพธิสัตว์ในพระครรภ์เหมือนเห็นเส้นด้ายในแก้วไพฑูรย์ ( ตั้งแต่ข้อ ๓ ถึง ๗ หมายถึงระหว่างทรงพระครรภ์). พระผู้มีพระภาคตรัสถามให้วาเสฏฐมาณพ ยืนยันถึง ๓ ครั้งว่า ทางต่าง ๆ เหล่านั้น นำไปสู่ความเป็นผู้ร่วมกับพระพรหมได้. เมื่อแสดงธรรมจบ สุภมาณพ โตเทยยบุตร สรรเสริญธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต.
เป็นผู้เลิศในทางถวายทาน. หัตถกะ อาฬวกะ ( ชาวอาฬวี) เป็นผู้เลิศในทางสงเคราะห์บริษัทด้วยสังคหวัตถุ ๔ ๓ . นางภัททากาปิลานี เป็นผู้เลิศในทางระลึกชาติได้. พระนางนันทา ( น้องพระอนุรุทธ์) เป็นในทางเข้าฌาน. สุปัณณสังยุตต์ ประมวลเรื่องครุฑ คือสัตว์ประเภทนก. ทิฏฐิสังยุตต์ ประมวลเรื่องทิฏฐิ คือความคิดเห็นที่เนื่องด้วยขันธ์ ๕.
ความเศร้าโศรก เป็นต้น ย่อมเกิดเพราะความปรวนแปรเป็นอื่นแห่งสิ่งที่รัก ๓. ความเป็นของปฏิกูล ( น่าเกลียด ) ใน นิมิต ( เครื่องหมาย ) ที่ไม่งาม ย่อมตั้งอยู่แก่ผู้ประกอบเนือง ๆ ซึ่งนิมิตว่าไม่งาม ๔. ความเป็นของปฏิกูลในผัสสะ ( ความถูกต้องอารมณ์ มีรูป เสียงเป็นต้น ) ย่อมตั้งอยู่แก่ผู้พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในอายตนะสำหรับถูกต้อง ๖ อย่าง ( มีตา หู เป็นต้น ) ๕. ความเป็นของปฏิกูล ในความยึดถือ ย่อมตั้งอยู่แก่บุคคลผู้พิจารณาเห็นความเกิดขึ้นความดับไปในขันธ์ ๕ ที่ยึดถือ นี้เป็นผลแต่ละข้อของ ๕ ข้อนั้น.) ที่ตรัสไว้แล้ว แต่มีรายละเอียดต่างไปเล็กน้อย. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ .
พบเข้าก็ให้ทาน ๒. ให้ทานเพราะกลัว ๓. ให้ทานเพราะคิดว่าเขาเคยให้แก่เรา ๔. ให้ทานเพราะคิดว่าเขาจักให้แก่เรา ๕. ให้ทานเพราะคิด ว่าทานเป็นของดี ๖. ให้ทานเพราะคิดว่าเราหุงต้ม แต่สมณะเหล่านี้มิได้หุงต้ม ๗.
วัสสการพราหมณ์ยอมรับว่า พระโคดมทรงฒิฌานที่ควรติ ทรงสรรเสริญฌานที่ควรสรรเสริญแล้วลาไป. โคปกโมคคัลลานพราหมณ์พูดกับพระอานนท์ว่า ยังไม่ตอบคำของตน ( ในข้อ ๑ ) พระอานนท์ว่าตอบแล้ว คือไม่มีภิกษุที่มีคุณธรรมเท่าพระพุทธเจ้า . พระองค์เป็นผู้ชี้ทาง พระสาวกเป็นผู้ดำเนินตามทาง.
แล้วทรงแสดงสมณะ ๔ ประเภท ตามชื่อเดิมอีก ต่าง แต่คำอธิบายตามลำดับข้อ คือพระโสดาบัน, พระสกทาคามี, พระอนาคามี, พระอรหันต์. ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือพร่องมาพร่องไป, พร่องมาเต็มไป, เต็มมาพร่องไป, เต็มมาเต็มไป โดยอธิบายเช่นเดียวกับพวกมืดและสว่างข้างต้น. ทรงแสดงการตอบปัญหา ๔ อย่าง คือปัญหาที่ควร ตอบโดย ๑. แง่เดียว ๒.
พราหมณ์ไม่ยึดถือสิ่งใด ๆ . ผู้ได้เจโตสมถะ ( ความสงบแห่งจิต ) ภายใน แต่ไม่ได้อธิปัญญา ธัมมวิปัสสนา ( ความเห็นแจ้งธรรมะ อันเป็นอธิปัญญา ). ผู้ได้อธิปัญญา ธัมมวิปัสสนา แต่ไม่ได้เจโตสมถะในภายใน ๓. ผู้ไม่ได้ทั้งสองอย่าง ๔. ผู้ได้ทั้งสองอย่าง.
ในภิกษุณีสงฆ์ ๕. ทักษิณาที่เจาะจงภิกษุ หรือภิกษุณีจำนวนเท่านั้นเท่านี้จากสงฆ์ ๖. ทักษิณาที่เจาะจงภิกษุเท่านั้นเท่านี้จากสงฆ์ ๗. ทักษิณาที่เจาะจงภิกษุณีเท่านั้นเท่านี้จากสงฆ์. ในข้อฉลาดในฐานะและอฐานะ ทรงแสดงความเป็นผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ เช่น ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิเป็นไปไม่ได้ ที่จะเห็นสังขารว่าเป็นเที่ยง เป็นสุข เป็นตัวตน และสิ่งที่เป็นไปได้ เช่น บุถุชนเป็นไปได้ที่จะเห็นสังขารว่าเป็นเที่ยง เป็นสุข เป็นตัวตน. ตรัสถามว่า ถ้าลดลงเสียอีก ๑ เหลือ ๒ จะลดอะไร โสณทัณฑพราหมณ์ลดข้อที่เกี่ยวกับชาติ คือกำเนิดจากมารดาบิดาเป็ณพราหมณ์.
ย่อมไปโดยทางตรง ๘. มีเรี่ยวแรง ม้าอาชาไนยประกอบด้วยองค์ ๘ เหล่านี้ ย่อมควรแก่พระราชา ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๘ ประการ ก็ควรของคำนับ เป็นเนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก คือ ๑. มีศีล ๒. บริโภคด้วย ความเคารพ ( ด้วยอาการอันดีงาม ) ซึ่งอาหารที่เขาถวายเศร้าหมองหรือประณีตก็ตาม ไม่เดือดร้อน ๓. รังเกียจทุจจริตทางกาย วาจา ใจ รังเกียจการประกอบด้วยอกุศลบาปธรรม ๔.
เราได้พยาบาลสหายนั้นจนหายแล้ว จึงลามาสู่อาศรมของเรา. สหาย ( อีกคนหนึ่ง ) ซึ่งเป็นพราหมณ์ ได้พาภริยาและบุตร รวมกัน ๓ คน มาเยี่ยมเรา. เด็กน้อยโยนลูกกลม( วัฏฏะ แต่ในอรรถกถาชาดกว่า เคณฑุกะ คือลูกคลีหนัง ) ทำให้งูโกรธ ( เพราะลูกคลีหนังนั้นตกลงไปในโพรงที่งูอยู่ ). เด็กตามไปเอามือล่วงในโพรง งูจึงกัดล้มลงบนพื้นดิน เราจึงได้ทำสัจจกิริยาว่า เราประพฤติพรหมจรรย์ด้วยความเลื่อมใสเพียง ๗วันเท่านั้น ต่อจากนั้นอีก ๕๐ ปีเศษ มิได้มีความพอใจ ( หรือเต็มใจ ) ประพฤติเลย ด้วยความสัตย์นี้ ขอให้พิษจงหมดไป ขอกุมารผู้มีนามว่ายัญญทัตจงฟื้นขึ้น. พร้อมกับที่ได้ทำสัจจะ เด็กน้อยก็หาย ฟื้นลุกขึ้นได้.
ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายถึงโทษ ๒ อย่าง คือโทษในปัจจุบันและโทษในภพหน้า . โทษในปัจจุบัน เช่น การจับโจรได้แล้วลงโทษ โดยด้วยแส้ โบยด้วยหวาย ตัดมือ ตัดเท้า ตัดศีรษะ เป็นต้น ๑ . ส่วนในโทษภพหน้า ได้แก่ผลของทุจจริตทางกาย วาจา ใจ ซึ่งจะทำให้เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรกเมื่อตายไปแล้ว. ตรัสสอนให้กลัวโทษ เห็นภัยในโทษก็จะพ้นจากโทษทั้งปวงได้. แล้วทรงแสดงทักษิณา ( ของให้หรือของถวาย ) ที่เจาะจงบุคคล ๑๔ ประเภทเป็นข้อ ๆ ไป คือ การที่บุคคลถวายทานหรือให้ทาน ๑.
จิตหดหู่ ๘. จิตฟุ้งซ่าน ๙. จิตใหญ่ ( จิตในฌาน ) ๑๐. จิตไม่ใหญ่ ( จิตที่ไม่ถึงฌาน ) ๑๑.
เล่ม ๑๓ คือเล่มนี้ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ หมวดขนาดกลาง หมวด ๕๐ ที่เป็นตอนกลาง ส่วนเล่ม ๑๔ คือ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ หมวดขนาดกลาง หมวด ๕๐ ที่เป็นตอนปลาย. ญาณที่๓ อริยสาวกพิจารณาว่า มีสมณพราหมณ์อื่นในภายนอกศาสนานี้ที่ประกอบด้วยทิฏฐิอย่างที่เรามีหรือไม่ หนอ . อเวทนา , สัญญา , อวิญญาณ ปนกันหรือแยกกัน ตอบว่า เป็นธรรมปนกัน ยากที่จะแยกบัญญัติทำให้ต่างกันได้ เพราะเสวยรู้สึกสิ่งใดก็จำสิ่งนั้นได้ จำสิ่งใดได้ก็รู้แจ้งสิ่งนั้น จึงแยกบัญญัติทำให้ต่างกันไม่ได้.
สันโดษ ด้วยเสนาสนะตามมีตามได้ ไม่ทำการแสวงหาอันไม่สมควร เพราะสิ่งทั้งสามนั้นไม่ได้ก็ไม่เดือดร้อน ได้ก็ไม่ติด ไม่ยกตนข่มผู้อื่น เพราะความสันโดษทั้งสามข้อนั้น ๔. ยินดีในการเจริญกุศลธรรม ในการละอกุศลธรรม.เธอก็ จะครอบงำความไม่ยินดีเสียได้. ทรงแสดงว่า บรรดาวาทะของสมณะเป็นอันมาก วาทะของมักขลิเลวที่สุด คือมีวาทะและความเห็นว่า กรรม ( การกระทำ ) ไม่มี กริยา (อาการที่ทำ ) ไม่มี วิริยะ ( ความเพียร ) ไม่มี เป็นการคัดค้านพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งอดีตอนาคต และปัจจุบัน ผู้กล่าวว่า กรรม, กิริยา , ความเพียรมี. ทรงแสดงว่าภิกษุผู้บำเพ็ญสมาธิ พึงใส่ใจนิมิต ( เครื่องหมายในจิตใจ ) ๓ อย่าง โดยกาลอันสมควร ได้แก่สมาธินิมิต (เครื่องหมายคือสมาธิหรือความมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ) ปัคคาหนิมิต ( เครื่องหมายคือความเพียร ) อุเบกขานิมิต ( เครื่องหมายคือความวางเฉย ).
พระอานนท์แสดงธรรมแก่ราชบุตรแห่งโกลิยกษัตริย์ ชาว สาปุคนิคมหลายองค์ ถึงองค์แห่งความเพียร เพื่อความบริสุทธิ์ ๔ อย่าง คือองค์แห่งความเพียรเพื่อความบริสุทธิ์แห่งศีล. แห่งจิต, แห่งทิฏฐิ ( ความเห็น ) และแห่งวิมุติ ( ความหลุดพ้น ) โดยชี้ไปที่การสำรวมในพระปาฏิโมกข์, การเข้าฌาน ๔, การรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง, การทำจิตให้คลายกำหนัดในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด การเปลื้องจิตในธรรมที่ควร เปลื้องโดยลำดับครบ ๔ ข้อ. พระอานนท์แสดงธรรมแก่นางภิกษุณีรูปหนึ่ง ผู้ใช้ คนไปนิมนต์ อ้างว่าตนเป็นไข้ โดยชี้แจงว่ากายเกิดขึ้นเพราะอาหาร, ตัณหา, มานะ ( ความถือตัว ) และเมถุนบุคคล พึงอาศัยอาหาร ละอาหาร, อาศัยตัณหา ละตัณหา, อาศัยมานะ ละมานะได้ แต่เมถุนบุคคลพึงละ พระผู้มีพระภาค ตรัสว่า พึงชักสะพานเสีย ( ละโดยเด็ดขาด ) นางภิกษุณีได้สดับ ก็ลุกขึ้นจากเตียงกล่าวขอขมา. ก็แต่ว่าพระองค์ทรงบัญญัติโลก, เหตุเกิดแห่งโลก, ความดับ โลก, ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับโลก ในร่างกายนี้แหละ อันมีประมาณวาหนึ่ง มีสัญญา ( ความจำได้ หมายรู้ ) มีใจครอง ?
แล้วตรัสถามว่า ออกบวชเพื่อทำที่สุดทุกข์ใช่หรือไม่ . พระอนุรุทธ์ก็กราบทูลรับว่า ใช่. จึงตรัสถึงหน้าที่ที่ผู้บวชแล้วพึงกระทำว่า ถ้ามิได้บรรลุปีติและสุขอันสงัดจากกาม อันสงัดจากอกุศลธรรม หรือปีติสุขที่สงบระงับกว่านั้นแล้ว ความโลภ ( อภิชฌา ) , ความคิดปองร้าย, ความหดหู่ง่วงงุน, คววามลังเลสงสัย, ความฟุ้งสร้านรำคาญใจ, ความไม่ยินดี ( ในกุศลธรรม ), ความเกียจคร้านก็จะครอบงำจิตตั้งอยู่ได้. ต่อไปบรรลุปีติและสุขเช่นนั้นหรืออย่างอื่นที่สงบระงับกว่านั้น กิเลสดังกล่าวจึงไม่ครอบงำจิตตั้งอยู่ได้. ท้าวสักกะก็ชื่นชมภาษิต และกราบทูลลากลับ.
อุทาน ว่าด้วยพระพุทธภิษที่ทรงเปล่งออกมาปรารภเหตุการณ์นั้น ๆ. ( ในหมวดนี้ไม่มีหมวด ๕๐ เริ่มต้นก็ขึ้นวรรคที่ ๑ ชื่อนิสสายวรรค ว่าด้วยสิ่งที่อาศัยกัน วรรคที่ ๒ ไม่มีชื่อ ต่อจากนั้นก็กล่าวถึงพระสูตรที่ไม่จัดเข้าในหมวด ๕๐ ). ตรัสถึงธรรมที่ควรสูบออก ๑๐ ประการ มีความเห็นผิด เป็นต้น. ตรัสแสดงการใช้ยาให้อาเจียน ของหมอทำนองเดียวกับเรื่องถ่ายยา. พระอานนท์โต้ตอบกับโกกนุทปริพพาชก ถึงเรื่องทิฏฐิ ๑๐ ประการในทำนอง คล้ายคลึงกัน. ตรัสกะพระอานนท์ ว่า ไม่มีญาณอย่างอื่นยิ่งไปกว่ายถาภูตญาณ ( คือญาณรู้เห็น ตามความเป็นจริงในเรื่องนั้น ๆ ).
เมื่อพระศาสดาเสด็จหลีกไปแล้ว พระสารีบุตรได้ตั้งปัญหาถามภิกษุเหล่านั้นว่า ด้วยเหตุเพียงไร สาวกจะเชื่อว่าไม่ศึกษาหรือศึกษาวิเวก ( ความสงัด ) ในเมื่อพระศาสดาเป็นผู้สงัดแล้ว ภิกษุทั้งหลายขอให้พระสารีบุตรตอบเอง. อนึ่ง พึงทราบไว้ด้วยว่า เพื่อสะดวกแก่การท่องจำหรือกำหนดหมาย ในปัณณาสก์หนึ่ง ๆ หรือเล่มเล่มหนึ่ง ๆ ซึ่งมี ๕๐ สูตรนั้น ท่านแบ่งออกเป็น ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ( คงมีวรรคละ ๑๒ สูตร อยู่วรรคเดียวในเล่ม ๑๔ หรือเล่มสุดท้ายแห่งมัชฌิมนิกาย ). หมวด ๔.
ไม่คิดประทุษร้าย ๓ ไม่หลง ฯลฯ. ขอท่านพุทธศาสนิกชนโดยถ้วนหน้าจงบูชาความดีของท่านด้วยการปฏิบัติตาม ทุกท่านจะไม่พลาดจากผลของความดี คือความสุขตลอดกาล.. ตรัสว่า ไม่ทรงกล่าวว่าควรบำเรอทุกอย่าง แต่ก็ไม่ทรงกล่าวว่าไม่ควรบำเรอทุกอย่าง เมื่อบำเรอแล้วเกิดความชั่วไม่เกิดความดีงามก็ไม่ควรบำเรอ เมื่อบำเรอแล้วความดีงามไม่เกิดวามชั่วก็ควรบำเรอ. (๔) ธรรมอันเป็นกุศล ๑๐ อย่าง คือที่ตรงกันข้ามกับอกุศล ๑๐ อย่าง. (๒) ธรรมอันเป็นกุศล ๓ อย่าง คือความไม่โลภ, ความไม่คิดประทุษร้าย, ความไม่หลง. (๑) ธรรมอันเป็นอกุศล ๓ คือความโลภ, ความคิดประทุษร้าย, ความหลง.
สุขจากการไม่เป็นหนี้, ๔. สุขจากการงานที่ไม่มีโทษ. ทรงแสดงความวิปลาส ( ความผิดพลาด, ความ คลาดเคลื่อน ๔ อย่าง คือ สัญญาวิปลาส, จิตตวิปลาส, ทิฏฐิวิปลาส ( ความวิปลาสแห่งความกำหนดหมาย, แห่งจิต, แห่งความเห็น) ๑.ในสิ่งไม่เที่ยงว่าเที่ยง, ๒. ในทุกข์ว่าสุข, ๓.
แล้วอุบาลีคฤหบดีได้เปรียบเทียบให้ฟังว่า คำสอนของนิครนถ์ อดทนต่อความยินดีของคนโง่ ไม่อดทนต่อความดีของบัณฑิต ไม่อดทนต่อการซักไซ้ขัดสี เปรียบเหมือนลูกลิงทนการย้อมสีได้ แต่จะเอามาทุบตี เอามาขัดสีเหมือนผ้าใหม่ที่จะย้อมสี ย่อมทนไม่ได้. นิครนถนาฏบุตรถึงแก่อาเจียนเป็นโลหิตในที่นั้น. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูก่อนมารผู้มีบาป ! พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เขาคิชฌกูฏ ใกล้กรุงราชคฤห์ ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงการที่ผู้ออกบวชได้ผลดีบางอย่าง หรือทำความดีบางอย่างให้เกิดแล้วมัวเมาประมาท ยกตนข่มผู้อื่น เพราะเหตุแห่งผลดีหรือความดีนั้น ๆ เทียบด้วยผู้ถือเอาสิ่งที่มิใช่แก่นไม้ว่าเป็นแก่นไม้ ในที่สุดได้ทรงแสดงความหลุดพ้นแห่งใจที่ไม่กำเริบว่าเป็นเหมือนแก่นไม้ . ต่อไปนี้เป็นข้อเปรียบเทียบที่ทรงแสดง. มีสาวกของพระสาวกของพระผู้มีพระภาคเสพเสนาสนะอันสงัดในป่า ซึ่งพวกยักษ์ชั้นผู้ใหญ่ที่ไม่เลื่อมใสในพระธรรมวินัยของพระผู้มีพระภาค อาศัยอยู่ เพื่อคุ้มครองรักษารักษาเพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่เป็นสุขแห่งภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงเรียนการรักษา ชื่ออาฏานาฏิยา เพื่อทำยักษ์เหล่านั้นให้เลื่อมใส .
ฐานะที่ไม่น่าพอใจ ทำเข้า ก็เป็นไปเพื่อไม่เป็นประโยชน์ ๒. ฐานะที่ไม่น่าพอใจ แต่ทำเข้าเป็นไปเพื่อประโยชน์ ๓. ฐานะที่น่าพอใจ แต่ทำ เข้าเป็นไปเพื่อไม่เป็นประโยชน์ ๔. ฐานะที่น่าพอใจ ทั้งทำเข้าก็เป็นไปเพื่อประโยชน์. ทรงแสดงงูพิษ ๔ อย่าง คือพิษแล่น แต่ไม่ร้าย, พิษ ร้าย แต่ไม่แล่น, พิษทั้งแล่นทั้งร้าย, พิษทั้งไม่แล่นไม่ร้าย ( พิษแล่นหรือไม่แล่น เทียบด้วยขี้โกรธหรือไม่ ; พิษ ร้ายหรือไม่ร้าย เทียบด้วยมีความโกรธคงอยู่นานหรือไม่ ). ทรงแสดงว่า ท้าวสักกะสอนเทพชั้นดาวดึงส์ สรรเสริญการรักษาอุโบสถมีองค์ ๘ ในวันอุโบสถ .